วันเสาร์ที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2557

รูปแบบการสวดกรรมวาจา(นาคคู่)

                                        สำหรับนาคคู่
        อุปสัมปทาเปกขะมีหลายรูป  อุปสมบทพร้อมกันได้คราวละ  ๒ รูป
๓ รูป  แต่ให้มีพระอุปัชฌายะองค์เดียวกันได้ คำสวดกรรมวาจา  จึงต้องเปลี่ยน
วิภัตติ  วจนะ  ให้ถูกต้องตามหลักบาลีดังนี้, สมมตินาคชื่อ ปุณโณ, สุโภ,
สมมติพระอุปัชฌายะชื่อ  มะนุสสะนาโค
                          คำสวดสมมติและคำสอนซ้อม
        สุณาตุ เม ภันเต  สังโฆปุณโณ  จะ สุโก  จะ อายัสมะโต
มะนุสสะนาคัสสะ  อุปะสัมปะทาเปกขายะทิ สังฆัสสะ  ปัตตะกัลลัง,
อะหัง  ปุณณัญจะ  สุภัญจะ  อะนุสาเสยยัง
        สุณะสิ  ปุณณะ  อะยันเต  สัจจะกาโล  ภูตะกาโลยัง  ชาตัง  ฯลฯ
อุปัชฌาโย  เม ภันเต  อายัสมา มะนุสสะนาโค นามะ 
(ถ้าถามทีละรูปข้อความเหมือนกัน)
                          คำขอเรียกอุปสัมปทาเปกขะเข้ามา
        สุณาตุ เม  ภันเต  สังโฆปุณโณ  จะ สุโภ จะ  อายัสมะโต
มะนุสสะนาคัสสะ  อุปะสัมปะทาเปกขา, อะนุสิฏฐา  เต  มะยายะทิ
สังฆัสสะ  ปัตตะกัลลังปุณโณ  จะ สุโภ จะ  อาคัจเฉยยัง (คำเรียก)
อาคัจฉะถะ
                       คำสมมติและคำถามอันตรายิกธรรม
        สุณาตุ  เม ภันเต สังโฆ, อะยัญจะ  ปุณโณ อะยัญจะ
สุโภ, อายัสมะโต  มะนุสสะนาคัสสะ  อุปะสัมปะทาเปกขายะทิ
สังฆัสสะ  ปัตตะกัลลังอะหัง  ปุณณัญจะ  สุภัญจะ อันตะรายิเก
ธัมเม ปุจเฉยยัง (แล้วสอบถามทีละรูป)
                        คำอุปัชฌายะพึงกล่าวเผดียงสงฆ์
        อิทานิ  โข อาวุโส  (ภันเต)  อะยัญจะ  ปุณโณ นามะ  สามะเณโร,
อะยัญจะ  สุโภ  นามะ  สามะเณโรมะมะ  อุปะสัมปะทาเปขา,
อุปะสัมปะทัง  อากังขะมานาสังฆัง  ยาจันติ, อะหัง  สัพพะมิมัง
สังฆัง  อัชเฌสามิอาวุโส  (ภันเต) สัพโพยัง สังโฆ, อิมัญจะ
ปุณณัง  นามะ  สามะเณรัง, อิมัญจะ  สุภัง  นามะ  สามะเณรัง,
อันตะรายิเก  ธัมเม  ปุจฉิตวาตัตถะ  ปัตตะกัลลัตตัง ญัตวา,
ญัตติจะตุตเถนะ  กัมเมนะ  อะกุปเปนะ ฐานาระเหนะ  อุปะสัมปาเทมาติ,
กัมมะสันนิฏฐานัง  กะโรตุ.
        หมายเหตุ  บทว่า  อาวุโส  นั้น ถ้ามีพระภิกษุแก่พรรษกว่าอุปัชฌายะร่วมประชุมอยู่ด้วย  พึงใช้ ภันเต แทน
                        

3 ความคิดเห็น:

  1. ตรวจสอบดีรึยังครับ ฉายา สุโภ พอคำสอนซ้อมเป็น สุโกจะ ถูกต้องที่ไหน

    ตอบลบ
  2. ระหว่าง ปุณโณ กับ สุโภ เมื่ออุปสมบทเสร็จแล้ว ใครเป็นภันเต ใครเป็นอาวุโสกำหนดอย่างไรครับ

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. ใครขึ้นก่อนก็คนนั้นครับ เพราะนับอายุคนเกิดก่อน

      ลบ