ประวัติย่อ
บิดา - มารดา และที่อยู่อาศัยเป็นบุตรนายเซี้ยง และนางเคลื่อน พานิชเกิดเมื่อวันอาทิตย์ที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๔๔๙ ขึ้น ๗ ค่ำ เดือน ๗ ปีมะเมีย ณ หมู่บ้านกลาง ตำบลพุมเรียง (ที่ตั้งเดิมของจังหวัดไชยา ก่อนเปลี่ยนชื่อเป็น “สุราษฎร์ธานี”)
พ.ศ. ๒๔๔๙
เด็กชายเงื่อม หรือพุทธทาสภิกขุในเวลาต่อมา เกิดเมื่อวันอาทิตย์ที่ ๒๗ พฤษภาคม ตรงกับวันขึ้น ๗ ค่ำ เดือน ๗ ปีมะเมีย บุตร นายเซี้ยงและนางเคลื่อน พานิช ที่หมู่บ้านกลาง ตำบลพุมเรียง ซึ่งสมัยนั้นยังเป็นที่ตั้งของจังหวัดไชยา
พ.ศ. ๒๔๕๗
เมื่ออายุ ๘ ขวบ บิดามารดาพาเด็กชายเงื่อมไปฝากเป็นเด็กวัดที่วัดพุมเรียง เป็นเวลา ๓ ปี เพื่อรับการศึกษาเบื้องต้นตามแบบโบราณ
พ.ศ. ๒๔๖๐
เด็กชายเงื่อมกลับมาอยู่บ้าน เข้าเรียนชั้นประถมศึกษาที่โรงเรียนวัดโพธาราม และเล่าเรียนที่นี่จนถึงชั้นมัธยม
พ.ศ. ๒๔๖๔
ย้ายมาเรียนชั้นมัธยมปีที่ ๒ ที่โรงเรียนสารภีอุทิศ ตำบลตลาด เพื่อจะได้อยู่กับบิดา ซึ่งมาเปิดร้านค้าอีกแห่งหนึ่งที่ตำบลนี้
พ.ศ. ๒๔๖๕
บิดาถึงแก่กรรมด้วยโรคลมปัจจุบัน เด็กหนุ่มเงื่อมออกจากโรงเรียนมาช่วยดำเนินการค้ากับมารดา ระหว่างนี้ นายยี่เกย น้องชาย บวชเป็นสามเณรและเรียนชั้นมัธยมอยู่ที่โรงเรียนประจำจังหวัด
ๆ กันอยู่
-ปลายปีเขียนบทความขนาดยาวเรื่อง "พระพุทธศาสนาขั้นบุถุชน" อธิบายคุณค่าของพระพุทธศาสนาด้วยภาษาสมัยปัจจุบัน และเริ่มแสดงความคิดเห็นว่า มรรค ผล นิพพาน เป็นเรื่องที่เป็นไปได้จริงในสมัยปัจจุบัน บทความนี้พิมพ์เป็นหนังสือแจก งานฉลองโรงเรียนนักธรรมวัดพระบรมธาตุไชยา
-ปลายปีนั้นสอบได้เปรียญธรรม ๓ ประโยค เป็น พระมหาเงื่อม อินฺทปญฺโญ
-ปลายปีนั้นสอบได้เปรียญธรรม ๓ ประโยค เป็น พระมหาเงื่อม อินฺทปญฺโญ
พ.ศ. ๒๔๗๔
-เบื่อเรียนมากขึ้น ค้นคว้าศึกษานอกตำราเรียนออกไป ความคิดอุดมคติเริ่มตั้งมั่น
-ปลายปีสอบเปรียญธรรมประโยค ๔ ตก เตรียมเดินทางกลับบ้านเพื่อทำงานตามอุดมคติ
-เบื่อเรียนมากขึ้น ค้นคว้าศึกษานอกตำราเรียนออกไป ความคิดอุดมคติเริ่มตั้งมั่น
-ปลายปีสอบเปรียญธรรมประโยค ๔ ตก เตรียมเดินทางกลับบ้านเพื่อทำงานตามอุดมคติ
พ.ศ. ๒๔๗๕
-เดินทางกลับถึงพุมเรียง (๖ เม.ย. ๒๔๗๔)
-เข้าอยู่ในวัดร้างตระพังจิก ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของสวนโมกข์สวนโมกขพลารามเมื่อ ๑๒ พฤษภาคม -เดือนกรกฎาคมคณะธรรมทานตั้งขึ้นอย่างเป็นกิจจะลักษณะ
-นางเคลื่อนทำพินัยกรรมมอบเงิน ๖,๓๗๘ บาท ตั้งเป็นทุนต้นตระกูลพานิช ช้ดอกผลบำรุงสวนโมกข์และคณะธรรมทาน
-คณะธรรมทานตั้งขึ้นอย่างเป็นกิจจะลักษณะ (ก.ค.) เปิดบ้านหนังหนึ่งเป็น "ห้องธรรมทาน" -มีทำบุญเลี้ยงพระและเทศน์ทุกวันพระและวัน ๘ ค่ำ
-เริ่มเขียน "ตามรอยพระอรหันต์" ในเดือนสิงหาคม
-เข้าอยู่ในวัดร้างตระพังจิก ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของสวนโมกข์สวนโมกขพลารามเมื่อ ๑๒ พฤษภาคม -เดือนกรกฎาคมคณะธรรมทานตั้งขึ้นอย่างเป็นกิจจะลักษณะ
-นางเคลื่อนทำพินัยกรรมมอบเงิน ๖,๓๗๘ บาท ตั้งเป็นทุนต้นตระกูลพานิช ช้ดอกผลบำรุงสวนโมกข์และคณะธรรมทาน
-คณะธรรมทานตั้งขึ้นอย่างเป็นกิจจะลักษณะ (ก.ค.) เปิดบ้านหนังหนึ่งเป็น "ห้องธรรมทาน" -มีทำบุญเลี้ยงพระและเทศน์ทุกวันพระและวัน ๘ ค่ำ
-เริ่มเขียน "ตามรอยพระอรหันต์" ในเดือนสิงหาคม
พ.ศ. ๒๔๗๖
-ออกหนังสือพิมพ์พุทธสาสนา ราย ๓ เดือน
-เริ่มเขียนบทความวิพากษ์วิจารณ์สภาพพระพุทธศาสนาและพระสงฆ์ใช้นามปากกา "ธรรมโยช" "ชินวาทก์"ฯ
- และเขียน "ทำไมไม่ไปกับพระโลกนาถ" ลงหนังสือพิมพ์ประชาธิปไตย ฉบับวันที่ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๔๗๖
-ออกหนังสือพิมพ์พุทธสาสนา ราย ๓ เดือน
-เริ่มเขียนบทความวิพากษ์วิจารณ์สภาพพระพุทธศาสนาและพระสงฆ์ใช้นามปากกา "ธรรมโยช" "ชินวาทก์"ฯ
- และเขียน "ทำไมไม่ไปกับพระโลกนาถ" ลงหนังสือพิมพ์ประชาธิปไตย ฉบับวันที่ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๔๗๖
-พิมพ์รวมเล่มพุทธประวัติจากพระโอษฐ์ครั้งแรก
-คณะธรรมทานเปิดโรงเรียนพุทธนิคม
-คณะธรรมทานเปิดโรงเรียนพุทธนิคม
พ.ศ. ๒๔๘๐
-หัวหน้ากองตำรามหามกุฎราชวิทยาลัย ประกาศใช้พุทธประวัติจากพระโอษฐ์ เป็นหนังสือประกอบแบบเรียน (๑๕ มิ.ย.)
-แปล "ลังกาวตาลสูตร" จากพระสูตรฝ่ายมหายาน ลงพุทธสาสนา
-สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ ญาณวรเถร) วัดเทพศิรินทร์ ประธานกรรมการมหาเถรสมาคม และผู้บัญชาการคณะสงฆ์แทนองค์สมเด็จพระสังฆราชเจ้า เดินทางมาเยี่ยมสวนโมกข์และค้างคืน ๑ คืน (๒๖ มิ.ย.)
-เขียน "บรรณวิจารณ์อภิธานัปปทีปนีกา" และ "ต้นบัญญัติสิกขาบท" -ไว้อาลัยวาระสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ (๑๖ ธ.ค.)
-หัวหน้ากองตำรามหามกุฎราชวิทยาลัย ประกาศใช้พุทธประวัติจากพระโอษฐ์ เป็นหนังสือประกอบแบบเรียน (๑๕ มิ.ย.)
-แปล "ลังกาวตาลสูตร" จากพระสูตรฝ่ายมหายาน ลงพุทธสาสนา
-สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ ญาณวรเถร) วัดเทพศิรินทร์ ประธานกรรมการมหาเถรสมาคม และผู้บัญชาการคณะสงฆ์แทนองค์สมเด็จพระสังฆราชเจ้า เดินทางมาเยี่ยมสวนโมกข์และค้างคืน ๑ คืน (๒๖ มิ.ย.)
-เขียน "บรรณวิจารณ์อภิธานัปปทีปนีกา" และ "ต้นบัญญัติสิกขาบท" -ไว้อาลัยวาระสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ (๑๖ ธ.ค.)
พ.ศ. ๒๔๘๑
-เริ่มอบรมสามเณรชุดพิเศษ เพื่อสร้างนักเผยแผ่ที่ทันสมัย (งานที่ไม่ประสบความสำเร็จในเวลาต่อมา)
-เรียบเรียง "เกียรติคุณของพระพุทธเจ้า" หนังสือพุทธประวัติสำหรับคนหนุ่มสาว ลงวันที่ ๑๑ ม.ค.
-เขียนบทความขนาดยาว "อนัตตาของพระพุทธเจ้า"
-พระยาลัดพลีธรรมประคัลภ์ (วงศ์ ลัดพลี) อธิบดีผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ พระยาภะรตราชสุพิช ผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ และนายสัญญา ธรรมศักดิ์ มาเยี่ยมสวนโมกข์เป็นครั้งแรก
-เริ่มอบรมสามเณรชุดพิเศษ เพื่อสร้างนักเผยแผ่ที่ทันสมัย (งานที่ไม่ประสบความสำเร็จในเวลาต่อมา)
-เรียบเรียง "เกียรติคุณของพระพุทธเจ้า" หนังสือพุทธประวัติสำหรับคนหนุ่มสาว ลงวันที่ ๑๑ ม.ค.
-เขียนบทความขนาดยาว "อนัตตาของพระพุทธเจ้า"
-พระยาลัดพลีธรรมประคัลภ์ (วงศ์ ลัดพลี) อธิบดีผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ พระยาภะรตราชสุพิช ผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ และนายสัญญา ธรรมศักดิ์ มาเยี่ยมสวนโมกข์เป็นครั้งแรก
พ.ศ. ๒๔๘๒
-นายยี่เกยเปลี่ยนชี่อเป็น "ธรรมทาส" อย่างเป็นทางการ
-สร้างหอสมุดธรรมทาน ที่วัดชยาราม เป็นที่พักและที่ทำงานอีกแห่งหนึ่ง
-มีบทความเกี่ยวกับกฤษณมูรติ ลงพุทธสาสนา
-เขียนบทความขนาดยาว ๕๕ หน้า "ตอบปัญหาบาทหลวง" หักล้างความเชื่อเกี่ยวกับพ-ย้ายมาจำพรรษาที่สวนโมกขพลารามแห่งใหม่ บริเวณธารน้ำไหล เขาพุทธทอง (สวนโมกข์ปัจจุบัน)
พ.ศ. ๒๔๘๙
-ได้รับแต่งตั้งให้เป็นหัวหน้าฝ่ายองค์การเผยแผ่ประจำจังหวัดสุราษฎร์ธานี (๒๒ ม.ค.)
-ย้ายมาจำพรรษาที่สวนโมกข์แห่งใหม่ บริเวณธารน้ำไหล เขาพุทธทอง (สวนโมกข์ปัจจุบัน)
-คณะพระยาลัดพลีธรรมประคัลภ์มาเยี่ยมครั้งที่ ๒
พ.ศ. ๒๔๘๙
-ได้รับแต่งตั้งให้เป็นพระครูสัญญาบัตร ในราชทินนามที่ พระครูอินทปัญญาจารย์ (๕ ธันวาคม ๒๔๘๙)
-ปาฐกถาธรรมที่พุทธสมาคมแห่งประเทศไทย เรื่อง "พุทธธรรมกับสันติภาพ" (๒ มี.ค.)
-เลิกสวนโมกข์แห่งเดิมที่พุมเรียงโดยสิ้นเชิง (ก่อนหน้านี้ยังมีพระอยู่ประจำ)
-ปาฐกถาธรรมที่สมาคมพุทธบริษัทไทยจีนประชา เรื่อง "ข้อควรทราบเกี่ยวกับหลักพุทธศาสนาระหว่างนิกายต่าง ๆ" (๒๙ ธ.ค.)
-สร้างหอสมุดธรรมทาน ที่วัดชยาราม เป็นที่พักและที่ทำงานอีกแห่งหนึ่ง
-มีบทความเกี่ยวกับกฤษณมูรติ ลงพุทธสาสนา
-เขียนบทความขนาดยาว ๕๕ หน้า "ตอบปัญหาบาทหลวง" หักล้างความเชื่อเกี่ยวกับพ-ย้ายมาจำพรรษาที่สวนโมกขพลารามแห่งใหม่ บริเวณธารน้ำไหล เขาพุทธทอง (สวนโมกข์ปัจจุบัน)
พ.ศ. ๒๔๘๙
-ได้รับแต่งตั้งให้เป็นหัวหน้าฝ่ายองค์การเผยแผ่ประจำจังหวัดสุราษฎร์ธานี (๒๒ ม.ค.)
-ย้ายมาจำพรรษาที่สวนโมกข์แห่งใหม่ บริเวณธารน้ำไหล เขาพุทธทอง (สวนโมกข์ปัจจุบัน)
-คณะพระยาลัดพลีธรรมประคัลภ์มาเยี่ยมครั้งที่ ๒
พ.ศ. ๒๔๘๙
-ได้รับแต่งตั้งให้เป็นพระครูสัญญาบัตร ในราชทินนามที่ พระครูอินทปัญญาจารย์ (๕ ธันวาคม ๒๔๘๙)
-ปาฐกถาธรรมที่พุทธสมาคมแห่งประเทศไทย เรื่อง "พุทธธรรมกับสันติภาพ" (๒ มี.ค.)
-เลิกสวนโมกข์แห่งเดิมที่พุมเรียงโดยสิ้นเชิง (ก่อนหน้านี้ยังมีพระอยู่ประจำ)
-ปาฐกถาธรรมที่สมาคมพุทธบริษัทไทยจีนประชา เรื่อง "ข้อควรทราบเกี่ยวกับหลักพุทธศาสนาระหว่างนิกายต่าง ๆ" (๒๙ ธ.ค.)
พ.ศ. ๒๔๙๐
-ปาฐกถาที่หอประชุมใหญ่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรื่อง "พระพุทธศาสนาจะช่วยพวกเราในปัจจุบันนี้ได้อย่างไร" (๓๑ พ.ค. ๒๔๙๐)
-ปาฐกถาที่พุทธสมาคมแห่งประเทศไทย เรื่อง "พุทธธรรมกับเจตนารมณ์แห่งประชาธิปไตย" ฯพณฯ ปรีดี พนมยงค์ ผู้สำเร็จราชการแผ่นดินในขณะนั้นเข้าฟังด้วย (๑๑ พ.ย. ๒๔๙๐)
-เกิดคณะพุทธนิคมที่เชียงใหม่
-เริ่มแปล "สูตรของเว่ยหล่าง" ลงพุทธสาสนา
-ปาฐกถาที่หอประชุมใหญ่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรื่อง "พระพุทธศาสนาจะช่วยพวกเราในปัจจุบันนี้ได้อย่างไร" (๓๑ พ.ค. ๒๔๙๐)
-ปาฐกถาที่พุทธสมาคมแห่งประเทศไทย เรื่อง "พุทธธรรมกับเจตนารมณ์แห่งประชาธิปไตย" ฯพณฯ ปรีดี พนมยงค์ ผู้สำเร็จราชการแผ่นดินในขณะนั้นเข้าฟังด้วย (๑๑ พ.ย. ๒๔๙๐)
-เกิดคณะพุทธนิคมที่เชียงใหม่
-เริ่มแปล "สูตรของเว่ยหล่าง" ลงพุทธสาสนา
พ.ศ. ๒๔๙๑
-โยมมารดาถึงแก่กรรม (๒๔ เม.ย.๒๔๙๑)
-เดินทางขึ้นเชียงใหม่ครั้งแรก เพื่อช่วยให้คำแนะนำแก่กิจการของคณะพุทธนิคมเชียงใหม่ (ก่อนเข้าพรรษา)
ระเจ้าแบบบุคคลอย่างรุนแรง ลงหนังสือพิมพ์ พุทธสาสนา ราย ๓ เดือน
-มีพิธีทอดกฐินครั้งแรกและครั้งเดียวของสวนโมกข์
-เขียน "บันทึกเปิดผนึกครบรอบ ๒๐ ปี" ลงในพุทธสาสนา ซึ่งออกรวมเป็นเพียงฉบับเดียวในปีนั้น
-เริ่มมีการบรรยายประจำคืนในช่วงพรรษา เพื่ออบรมพระภิกษุสามเณรภายในสวนโมกข์
-เดินทางขึ้นเชียงใหม่ครั้งแรก เพื่อช่วยให้คำแนะนำแก่กิจการของคณะพุทธนิคมเชียงใหม่ (ก่อนเข้าพรรษา)
ระเจ้าแบบบุคคลอย่างรุนแรง ลงหนังสือพิมพ์ พุทธสาสนา ราย ๓ เดือน
-มีพิธีทอดกฐินครั้งแรกและครั้งเดียวของสวนโมกข์
-เขียน "บันทึกเปิดผนึกครบรอบ ๒๐ ปี" ลงในพุทธสาสนา ซึ่งออกรวมเป็นเพียงฉบับเดียวในปีนั้น
-เริ่มมีการบรรยายประจำคืนในช่วงพรรษา เพื่ออบรมพระภิกษุสามเณรภายในสวนโมกข์
พ.ศ. ๒๔๙๖
-แสดงธรรมเรื่อง "ศาสนาคือโรงพยาบาลของโลก" ที่โรงพยาบาลสงฆ์ ในโอกาสเปิดตึกสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (๒๑ ก.พ.)
-คณะธรรมทานได้รับอนุญาตให้จดทะเบียนเป็น "ธรรมทานมูลนิธิ" (๒๔ พ.ย.)
-มีผู้บริจาคแท่นพิมพ์และเครื่องตัดกระดาษให้ใหม่
-มีการฉายสไลด์ในสวนโมกข์ ริเริ่มการเผยแผ่ธรรมโดยการฉายสไลด์
-แสดงธรรมเรื่อง "ศาสนาคือโรงพยาบาลของโลก" ที่โรงพยาบาลสงฆ์ ในโอกาสเปิดตึกสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (๒๑ ก.พ.)
-คณะธรรมทานได้รับอนุญาตให้จดทะเบียนเป็น "ธรรมทานมูลนิธิ" (๒๔ พ.ย.)
-มีผู้บริจาคแท่นพิมพ์และเครื่องตัดกระดาษให้ใหม่
-มีการฉายสไลด์ในสวนโมกข์ ริเริ่มการเผยแผ่ธรรมโดยการฉายสไลด์
พ.ศ. ๒๔๙๗
-อธิษฐานไม่ออกนอกเขตตลอดพรรษา
-พิมพ์หนังสือทำวัตรสวดมนต์แปลครั้งแรก
-ร่วมประชุมและกล่าวปราศรัยในนามตัวแทนคณะสงฆ์ไทย ในงานฉัฏฐสังคายนาที่ประเทศพม่า เรื่อง "ลักษณะน่าอัศจรรย์บางประการของพุทธศาสนาแบบเถรวาท" (๖ ธ.ค.)
-เขียน "โลกอาจรอดได้ แม้เพราะกตัญญู" (๘ มี.ค.) เป็นบทความที่เด่นบทหนึ่ง แสดงให้เห็นถึงโลกทัศน์แบบพุทธที่มีลักษณะนิเวศวิทยาอยู่ในตัว
-อธิษฐานไม่ออกนอกเขตตลอดพรรษา
-พิมพ์หนังสือทำวัตรสวดมนต์แปลครั้งแรก
-ร่วมประชุมและกล่าวปราศรัยในนามตัวแทนคณะสงฆ์ไทย ในงานฉัฏฐสังคายนาที่ประเทศพม่า เรื่อง "ลักษณะน่าอัศจรรย์บางประการของพุทธศาสนาแบบเถรวาท" (๖ ธ.ค.)
-เขียน "โลกอาจรอดได้ แม้เพราะกตัญญู" (๘ มี.ค.) เป็นบทความที่เด่นบทหนึ่ง แสดงให้เห็นถึงโลกทัศน์แบบพุทธที่มีลักษณะนิเวศวิทยาอยู่ในตัว
พ.ศ. ๒๔๙๘
-อบรมข้าราชการตุลาการครั้งแรก เรื่อง "ใจความสำคัญของพุทธศาสนา" ณ ห้องบรรยายเนติบัณฑิตยสภา ต่อมาพิมพ์เป็นเล่มชื่อหลักพระพุทธศาสนา และพิมพ์ในชุดธรรมโฆษณ์ ชื่อ "ตุลาการิกธรรม เล่ม ๑" -การบรรยายชุดนี้ทำต่อเนื่องมาอีกรวม ๑๔ ครั้ง
-อบรมข้าราชการตุลาการครั้งแรก เรื่อง "ใจความสำคัญของพุทธศาสนา" ณ ห้องบรรยายเนติบัณฑิตยสภา ต่อมาพิมพ์เป็นเล่มชื่อหลักพระพุทธศาสนา และพิมพ์ในชุดธรรมโฆษณ์ ชื่อ "ตุลาการิกธรรม เล่ม ๑" -การบรรยายชุดนี้ทำต่อเนื่องมาอีกรวม ๑๔ ครั้ง
พ.ศ. ๒๕๐๐
-แสดงธรรมที่โรงพยาบาลสงฆ์ เรื่อง "ธรรมะคือโอสถสำหรับโลก" (ก.พ.)
-เทศน์ในโอกาส ๒๕ พุทธศตวรรษ เรื่อง "หนทางดับความเลวร้ายในยุคปัจจุบัน" ที่วัดพระศาสตร์และประเพณี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีผู้ฟังประมาณ ๓,๐๐๐ คน (๒๘ ธ.ค. ๒๕๐๓)
พ.ศ. ๒๕๐๔
-ในพรรษาพูดเรื่อง "ตัวกู-ของกู" อบรมพระสงฆ์สามเณร
-ร่วมสัมมนาเรื่อง "การศึกษาพุทธศาสนาในมหาวิทยาลัย" ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (๒๖ พ.ย. - ๒๒ ธ.ค. ๒๕๐๔)
- และแสดงธรรมอบรมนิสิต รวม ๗ ครั้ง
-เทศน์ในโอกาส ๒๕ พุทธศตวรรษ เรื่อง "หนทางดับความเลวร้ายในยุคปัจจุบัน" ที่วัดพระศาสตร์และประเพณี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีผู้ฟังประมาณ ๓,๐๐๐ คน (๒๘ ธ.ค. ๒๕๐๓)
พ.ศ. ๒๕๐๔
-ในพรรษาพูดเรื่อง "ตัวกู-ของกู" อบรมพระสงฆ์สามเณร
-ร่วมสัมมนาเรื่อง "การศึกษาพุทธศาสนาในมหาวิทยาลัย" ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (๒๖ พ.ย. - ๒๒ ธ.ค. ๒๕๐๔)
- และแสดงธรรมอบรมนิสิต รวม ๗ ครั้ง
พ.ศ. ๒๕๐๕
-เริ่มสร้างโรงมหรสพทางวิญญาณ (โรงหนังแบบสวนโมกข์) -และมีโรงปั้นเพื่อปั้นภาพพุทธประวัติยุคแรกของโลก ทั้ง ๒ อย่างนี้ใช้เวลาราว ๑๐ ปี จึงเสร็จ
พ.ศ. ๒๕๐๖
-อภิปรายแบบธรรมสากัจฉา กับหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ครั้งแรก ในหัวข้อ "การทำงานคือการปฎิบัติธรรม" มีนายปุ๋ย โรจนบุรานนท์ และ นายฉันทิชย์ กระแสสินธุ์ ร่วมด้วย ที่หอประชุมคุรุสภา (๖ ธ.ค.)
พ.ศ. ๒๕๐๗
-อภิปรายแบบธรรมสากัจฉา (ที่กลายเป็นวิวาทะ) กับหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ครั้งที่ ๒ และครั้งสุดท้าย ที่หอประชุมคุรุสภา เรื่อง "การทำงานด้วยจิตว่าง" (๑๓ ก.พ. ๒๕๐๘)
-ปาฐกถาธรรมเรื่อง "สิ่งที่เรายังเข้าใจผิดกันอยู่" ที่พุทธสมาคมแห่งประเทศไทย กรุงเทพฯ (๒๑ ม.ค.)
-ปาฐกถาธรรมเรื่อง "การส่งเสริมจริยธรรมแก่เด็กวัยรุ่น" ในที่ประชุมสามัญประจำปี ที่คุรุสภา (๒๗ เม.ย.)
พ.ศ. ๒๕๐๘
-หนังสือแก่นพุทธศาสน์ ที่ท่าน อาจารย์พุทธทาส ได้แสดงปาฐกถา ในโอกาสพิเศษ ณ.ชุมนุมศึกษาพุทธธรรม (ศิริราช) ในอุปการะของ คณะแพทย์ ศาสตร์และศิริราชพยาบาล-ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นเทพ ในราชทินนามที่ "พระเทพวิสุทธิเมธี" (๕ ธ.ค. ๒๕๑๔)
-เขียน "บันทึกคำชี้แจงเกี่ยวกับการศึกษาเรื่องปฏิจจสมุปบาท" (๓๐ ก.ย.)
พ.ศ. ๒๕๑๕
-บรรยายชุด "แก่นพุทธศาสน์" ที่โรงพยาบาลศิริราช
-บรรยายชุด "สอนพุทธศาสนาผ่านคัมภีร์ไบเบิล" ในสวนโมกข์
พ.ศ. ๒๕๑๖
-บรรยายเรื่อง "มหาวิทยาลัยกับความรู้เรื่องจิต" แก่อาจารย์คณะแพทย์ศาสตร์จากมหาวิทยาลัยมหิดล ที่มาสวนโมกข์ (๓๐ ส.ค.)
-เขียนบทความขนาดยาว "สมเด็จในความรู้สึกของข้าพเจ้า" ตามคำขอของพระดุลยพากย์สุวมัณฑ์ เพื่อพิมพ์ในหนังสือครบรอบ ๑๐๐ ปี สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ ญาณวรเถร)
-บรรยายเรื่อง "ประชาธิปไตยแบบสังคมนิยม" ในสวนโมกข์ (๑๑ พ.ย.)
-อาพาธ ขณะกำลังเทศน์และเข้ารับการรักษาตัวที่โรงพยาบาลศิริราช (ธ.ค.)
พ.ศ. ๒๕๑๗
-บรรยายเรื่อง "มหิดลธรรม" แก่พระนักศึกษาภาคฤดูร้อน
-บรรยายเรื่อง "สังคมนิยมตามหลักแห่งพระศาสนา" (๑๕ ก.ย.)
พ.ศ. ๒๕๑๘
-บรรยายชุด "โมกขธรรมประยุกต์" สำหรับพระนักศึกษาภาคฤดูร้อน
-บรรยายเรื่อง "พระพุทธเจ้ามีอุดมคติเป็นสังคมนิยม"
-บรรยายเรื่อง "สังคมนิยมชนิดที่ช่วยโลกได้" (๒๗ พ.ค. ๑๘)
พ.ศ. ๒๕๒๑
-เริ่มปาฐกถาธรรมทางวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย ทุกวันอาทิตย์ที่ ๓ ของเดือนพ.ศ. ๒๕๓๐
-ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นธรรม ในราชทินนามที่ "พระธรรมโกศาจารย์" (๕ ธ.ค. ๒๕๓๐)
-เริ่มสร้างโรงมหรสพทางวิญญาณ (โรงหนังแบบสวนโมกข์) -และมีโรงปั้นเพื่อปั้นภาพพุทธประวัติยุคแรกของโลก ทั้ง ๒ อย่างนี้ใช้เวลาราว ๑๐ ปี จึงเสร็จ
พ.ศ. ๒๕๐๖
-อภิปรายแบบธรรมสากัจฉา กับหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ครั้งแรก ในหัวข้อ "การทำงานคือการปฎิบัติธรรม" มีนายปุ๋ย โรจนบุรานนท์ และ นายฉันทิชย์ กระแสสินธุ์ ร่วมด้วย ที่หอประชุมคุรุสภา (๖ ธ.ค.)
พ.ศ. ๒๕๐๗
-อภิปรายแบบธรรมสากัจฉา (ที่กลายเป็นวิวาทะ) กับหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ครั้งที่ ๒ และครั้งสุดท้าย ที่หอประชุมคุรุสภา เรื่อง "การทำงานด้วยจิตว่าง" (๑๓ ก.พ. ๒๕๐๘)
-ปาฐกถาธรรมเรื่อง "สิ่งที่เรายังเข้าใจผิดกันอยู่" ที่พุทธสมาคมแห่งประเทศไทย กรุงเทพฯ (๒๑ ม.ค.)
-ปาฐกถาธรรมเรื่อง "การส่งเสริมจริยธรรมแก่เด็กวัยรุ่น" ในที่ประชุมสามัญประจำปี ที่คุรุสภา (๒๗ เม.ย.)
พ.ศ. ๒๕๐๘
-หนังสือแก่นพุทธศาสน์ ที่ท่าน อาจารย์พุทธทาส ได้แสดงปาฐกถา ในโอกาสพิเศษ ณ.ชุมนุมศึกษาพุทธธรรม (ศิริราช) ในอุปการะของ คณะแพทย์ ศาสตร์และศิริราชพยาบาล-ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นเทพ ในราชทินนามที่ "พระเทพวิสุทธิเมธี" (๕ ธ.ค. ๒๕๑๔)
-เขียน "บันทึกคำชี้แจงเกี่ยวกับการศึกษาเรื่องปฏิจจสมุปบาท" (๓๐ ก.ย.)
พ.ศ. ๒๕๑๕
-บรรยายชุด "แก่นพุทธศาสน์" ที่โรงพยาบาลศิริราช
-บรรยายชุด "สอนพุทธศาสนาผ่านคัมภีร์ไบเบิล" ในสวนโมกข์
พ.ศ. ๒๕๑๖
-บรรยายเรื่อง "มหาวิทยาลัยกับความรู้เรื่องจิต" แก่อาจารย์คณะแพทย์ศาสตร์จากมหาวิทยาลัยมหิดล ที่มาสวนโมกข์ (๓๐ ส.ค.)
-เขียนบทความขนาดยาว "สมเด็จในความรู้สึกของข้าพเจ้า" ตามคำขอของพระดุลยพากย์สุวมัณฑ์ เพื่อพิมพ์ในหนังสือครบรอบ ๑๐๐ ปี สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ ญาณวรเถร)
-บรรยายเรื่อง "ประชาธิปไตยแบบสังคมนิยม" ในสวนโมกข์ (๑๑ พ.ย.)
-อาพาธ ขณะกำลังเทศน์และเข้ารับการรักษาตัวที่โรงพยาบาลศิริราช (ธ.ค.)
พ.ศ. ๒๕๑๗
-บรรยายเรื่อง "มหิดลธรรม" แก่พระนักศึกษาภาคฤดูร้อน
-บรรยายเรื่อง "สังคมนิยมตามหลักแห่งพระศาสนา" (๑๕ ก.ย.)
พ.ศ. ๒๕๑๘
-บรรยายชุด "โมกขธรรมประยุกต์" สำหรับพระนักศึกษาภาคฤดูร้อน
-บรรยายเรื่อง "พระพุทธเจ้ามีอุดมคติเป็นสังคมนิยม"
-บรรยายเรื่อง "สังคมนิยมชนิดที่ช่วยโลกได้" (๒๗ พ.ค. ๑๘)
พ.ศ. ๒๕๒๑
-เริ่มปาฐกถาธรรมทางวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย ทุกวันอาทิตย์ที่ ๓ ของเดือนพ.ศ. ๒๕๓๐
-ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นธรรม ในราชทินนามที่ "พระธรรมโกศาจารย์" (๕ ธ.ค. ๒๕๓๐)
พ.ศ.๒๕๓๖
-๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๐ ได้รับการถวาย ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาครุศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
-๑๖ กรกฎาคม ๒๕๓๐ ได้รับการถวาย ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาปรัชญา จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
-๘ กรกฎาคม ๒๕๓๖ เวลา ๑๑.๒๐ นาฬิกา มรณภาพ
-๒๘ กันยายน ๒๕๓๖ พิธีเผาศพ ณ เขาพุทธทอง ภายในสวนโมกขพลาราม อ.ไชยา
-๒๙ กันยายน ๒๕๓๖ ทำบุญอัฐิ
-๑๖ ตุลาคม ๒๕๓๖ ฝังกระดูกและลอยอังคาร ที่เขาประสงค์ และช่องอ่างทอง
-๑๗ ตุลาคม ๒๕๓๖ ลอยอังคารที่ต้นน้ำตาปี ที่เขาสก
พ.ศ. ๒๕๓๗
-คุรุสภาประกาศยกย่องเชิดชูเกียรติคุณ พระธรรมโกศาจารย์ (พุทธทาส) ว่าเป็นผู้ทำคุณประโยชน์อย่างสูงยิ่ง ต่อการศึกษาของชาติ เนื่องในโอกาสที่กระทรวงศึกษาธิการครบรอบ ๑๐๐ ปี ในปี พ.ศ. ๒๕๓๕
-๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๐ ได้รับการถวาย ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาครุศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
-๑๖ กรกฎาคม ๒๕๓๐ ได้รับการถวาย ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาปรัชญา จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
-๘ กรกฎาคม ๒๕๓๖ เวลา ๑๑.๒๐ นาฬิกา มรณภาพ
-๒๘ กันยายน ๒๕๓๖ พิธีเผาศพ ณ เขาพุทธทอง ภายในสวนโมกขพลาราม อ.ไชยา
-๒๙ กันยายน ๒๕๓๖ ทำบุญอัฐิ
-๑๖ ตุลาคม ๒๕๓๖ ฝังกระดูกและลอยอังคาร ที่เขาประสงค์ และช่องอ่างทอง
-๑๗ ตุลาคม ๒๕๓๖ ลอยอังคารที่ต้นน้ำตาปี ที่เขาสก
พ.ศ. ๒๕๓๗
-คุรุสภาประกาศยกย่องเชิดชูเกียรติคุณ พระธรรมโกศาจารย์ (พุทธทาส) ว่าเป็นผู้ทำคุณประโยชน์อย่างสูงยิ่ง ต่อการศึกษาของชาติ เนื่องในโอกาสที่กระทรวงศึกษาธิการครบรอบ ๑๐๐ ปี ในปี พ.ศ. ๒๕๓๕
พ.ศ. ๒๕๔๘
-๒๐ ตุลาคม ๒๕๔๘ องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ยกย่อง ‘พุทธทาสภิกขุ’ เป็นบุคคลสำคัญของโลก
-๒๐ ตุลาคม ๒๕๔๘ องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ยกย่อง ‘พุทธทาสภิกขุ’ เป็นบุคคลสำคัญของโลก
พ.ศ. ๒๕๔๘
-UNESCO ได้มีมติให้ประกาศยกย่อง พระธรรมโกศาจารย์ พุทธทาสภิกขุ เป็นบุคคลสำคัญของโลก ด้านอุทิศตนเพื่อการสั่งสอนธรรมะเพื่อผดุงไว้ซึ่งสันติธรรม ยุติธรรม และให้มนุษย์อยู่ร่วมกับสิ่งแวดล้อมได้อย่างกลมกลืน และบรรจุการเฉลิมฉลองครบชาตกาล ๑๐๐ ปี ในวันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๔๙
-UNESCO ได้มีมติให้ประกาศยกย่อง พระธรรมโกศาจารย์ พุทธทาสภิกขุ เป็นบุคคลสำคัญของโลก ด้านอุทิศตนเพื่อการสั่งสอนธรรมะเพื่อผดุงไว้ซึ่งสันติธรรม ยุติธรรม และให้มนุษย์อยู่ร่วมกับสิ่งแวดล้อมได้อย่างกลมกลืน และบรรจุการเฉลิมฉลองครบชาตกาล ๑๐๐ ปี ในวันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๔๙
- ๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๓ ได้รับการถวาย ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาพัฒนศึกษาศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยศรี นครินทรวิโรฒ
- ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๓๖ ได้รับการถวาย ปริญญาศิลปศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต กิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๓๖ ได้รับการถวาย ปริญญาศิลปศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต กิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รางวัลอื่น ๆ.-
-สแวเรอร์ ได้สรรเสริญท่านอาจารย์พุทธทาสว่าเป็น นาคารชุนแห่งเถรวาท กล่าวคือ เป็นผู้ปฏิวัติชำระสะสาง ปฏิรูปพุทธศาสนา ทั้งในด้านวิชาความรู้ และวิธีดำเนินการ ให้ถูกต้องยิ่งขึ้น สะอาดยิ่งขึ้น และก้าวหน้ายิ่งขึ้น (นาคารชุนคนแรก เป็นผู้ปฏิวัติพุทธศาสนาในสมัย นาลันทา ที่อินเดีย )
-พ.ศ. ๒๕๐๘ หนังสือแก่นพุทธศาสน์ ที่ท่าน อาจารย์พุทธทาส ได้แสดงปาฐกถา ในโอกาสพิเศษ ณ.ชุมนุมศึกษาพุทธธรรม (ศิริราช) ในอุปการะของ คณะแพทย์ ศาสตร์และศิริราชพยาบาลมหาวิทยา ลัย แพทย์ศาสตร์ เมื่อวันที่ ๑๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๐๔ ได้รับรางวัลชนะเลิศ “หนังสือดีประจำปี ๒๕๐๘” จากองค์การ ยูเนสโก้ แห่งสหประชาชาติ
- พ.ศ. ๒๕๒๗ ท่านอาจารย์พุทธทาส ได้รับคัดเลือกจากทางราชการ ประเภทบุคคลทำประโยชน์ฝ่ายบรรพชิตในโอกาสสมโภชน์กรุงเทพฯ ๒๐๐ ปี ได้รับรางวัลเป็นสัญญลักษณ์ “เสาอโศก” และเงินสดหนึ่งหมื่นบาท
- พ.ศ. ๒๕๓๗ คุรุสภาประกาศยกย่องเชิดชูเกียรติคุณ พระธรรมโกศาจารย์ (พุทธทาส) ว่าเป็นผู้ทำคุณประโยชน์อย่างสูงยิ่ง ต่อการศึกษาของชาติ เนื่องในโอกาสที่กระทรวงศึกษาธิการครบรอบ ๑๐๐ ปี ในปี พ.ศ. ๒๕๓๕
- เกียรติคุณท่านอาจารย์ที่กล่าวมาแล้ว เป็นเกียรติคุณ ในทางโลกบ้าง ทางรูปธรรม ตามสมมติบ้าง ส่วนเกียรติคุณในทางนามธรรม ท่านอาจารย์คือผู้เปิดประตูทาง วิญญาณ ให้ศิษยานุศิษย์ทั้งหลาย หลุดพ้นออกมาจากคอกอันมืดมิดของอวิชชา ซึ่งจะไปได้ถึงระดับใด ก็ขึ้นอยู่กับ พละอินทรีย์ของแต่ละบุคคล ซึ่งก็ไม่มีใคร จะรับรองใครได้
-สแวเรอร์ ได้สรรเสริญท่านอาจารย์พุทธทาสว่าเป็น นาคารชุนแห่งเถรวาท กล่าวคือ เป็นผู้ปฏิวัติชำระสะสาง ปฏิรูปพุทธศาสนา ทั้งในด้านวิชาความรู้ และวิธีดำเนินการ ให้ถูกต้องยิ่งขึ้น สะอาดยิ่งขึ้น และก้าวหน้ายิ่งขึ้น (นาคารชุนคนแรก เป็นผู้ปฏิวัติพุทธศาสนาในสมัย นาลันทา ที่อินเดีย )
-พ.ศ. ๒๕๐๘ หนังสือแก่นพุทธศาสน์ ที่ท่าน อาจารย์พุทธทาส ได้แสดงปาฐกถา ในโอกาสพิเศษ ณ.ชุมนุมศึกษาพุทธธรรม (ศิริราช) ในอุปการะของ คณะแพทย์ ศาสตร์และศิริราชพยาบาลมหาวิทยา ลัย แพทย์ศาสตร์ เมื่อวันที่ ๑๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๐๔ ได้รับรางวัลชนะเลิศ “หนังสือดีประจำปี ๒๕๐๘” จากองค์การ ยูเนสโก้ แห่งสหประชาชาติ
- พ.ศ. ๒๕๒๗ ท่านอาจารย์พุทธทาส ได้รับคัดเลือกจากทางราชการ ประเภทบุคคลทำประโยชน์ฝ่ายบรรพชิตในโอกาสสมโภชน์กรุงเทพฯ ๒๐๐ ปี ได้รับรางวัลเป็นสัญญลักษณ์ “เสาอโศก” และเงินสดหนึ่งหมื่นบาท
- พ.ศ. ๒๕๓๗ คุรุสภาประกาศยกย่องเชิดชูเกียรติคุณ พระธรรมโกศาจารย์ (พุทธทาส) ว่าเป็นผู้ทำคุณประโยชน์อย่างสูงยิ่ง ต่อการศึกษาของชาติ เนื่องในโอกาสที่กระทรวงศึกษาธิการครบรอบ ๑๐๐ ปี ในปี พ.ศ. ๒๕๓๕
- เกียรติคุณท่านอาจารย์ที่กล่าวมาแล้ว เป็นเกียรติคุณ ในทางโลกบ้าง ทางรูปธรรม ตามสมมติบ้าง ส่วนเกียรติคุณในทางนามธรรม ท่านอาจารย์คือผู้เปิดประตูทาง วิญญาณ ให้ศิษยานุศิษย์ทั้งหลาย หลุดพ้นออกมาจากคอกอันมืดมิดของอวิชชา ซึ่งจะไปได้ถึงระดับใด ก็ขึ้นอยู่กับ พละอินทรีย์ของแต่ละบุคคล ซึ่งก็ไม่มีใคร จะรับรองใครได้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น