วันเสาร์ที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

นิสิตปริญญาตรี รุ่นที่ ๕๖

นิสิตปริญญาโท รุ่นที่ ๑

ชีวิตยังมีความงดงามเสมอ

ไม่มีคำว่าสายในการทำความดี

ความดีงดงามเสมอ

คำว่าแม่เป็นคำไพเราะที่สุดแ

แม่ไม่เคยหิวถ้าลูกยังไม่อิ่ม

สิ่งที่เกิดมาในโลกใบนี้ล้วนมีคุณค่า

      ต้นไม้ยังให้ความร่มรื่นแก่ชีวิต

วันอาทิตย์ที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

สรุปวิชาพระพุทธศาสนามหายานในประเทศไทย

วิชา พระพุทธศาสนามหายาน อ.ผศ.ดร.พระครูสิริธรรมรัต
เรื่องพระพุทธศาสนามหายานในประเทศไทย  (กลุ่มที่ ๑๐)
หัวข้อที่นำมาศึกษา ๓ อย่าง
                ๑.พระพุทธศาสนามหายานเข้าสู่ประเทศไทยได้อย่างไร?
                ๒.พระพุทธศาสนามหายานมีการพัฒนามาแต่ละยุคอย่างไร?
                ๓.ทำไมพระพุทธศาสนาของมหายานจึงสามารถเผยแผ่ได้กว้างไกล
                                ๑.พระพุทธศาสนามหายานเข้ามาสู่ประเทศไทยได้อย่างไร?
                พระพุทธศาสนามหายานเกิดขึ้นหลังการสังคายนาครั้งที่๓ พระเจ้าอโศกมหาราชได้ส่งพระสมณะทูต ไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาออกเป็น ๙ สาย สายที่ ๘ พระโสณะกับพระอุตระเป็นหัวหน้าคณะเข้ามาสูบริเวณที่เรียกว่า สุวรรณภูมิ
                ในกาลต่อมาพระพุทธศาสนาได้รับอิทธิพลโดยผสมผสานศาสนาพราหมณ์แบบมหายานนี้ทำให้มีความเจริญรุ่งเรืองในอาณาจักรน่านเจ้า ซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของดินแดนสุวรรณภูมิ
                ปลายพุทธศตวรรษที่๗ ขุนหลวงเม้ากษัตริย์ไทยพระองค์หนึ่งซึ่งเป็นชนชาติไทยอยู่น่านเจ้าซึ่งนับถือพระพุทธศาสนามหายานที่ผสมผสานกับศาสนาพราหมณ์จากพระเจ้าฮั่นเม่งเต้งกษัตริย์ในสมัยนั้น
                มีหลักฐานตามประวัติศาสตร์ว่าอาณาจักรนานเจ้านี้เป็นถิ่นของชนชาวไทยมาก่อนจึงนับได้ว่าพระพุทธศาสนามายานเข้ามาสู่ประเทศไทยและเป็นศาสนาประจำชาติไทยตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
                ประมาณ พ.ศ. ๑๕๔๕-๑๗๒๕ พระพุทธศาสนามหายาน ได้แผ่เข้ามาเจริญรุ่งเรืองอีกในสุวรรณภูมิโดยเฉพาะเขมรในรัชกาลของพระเจ้า  สุริยวรมัน    ซึ่งมีอาณาจักรทราวดี ที่กำลังรุ่งเรือง
                พุทธศตวรรตที่ ๑๘ กุบไลข่าน  กษัตริย์ชาติมองโกล ได้นำทัพตีอาณาจักรน่านเจ้าแตก  ชนชาติไทยได้อพยพลงมาตามแม่น้ำสาละวินและแม่น้ำโขง  พวกหนึ่งได้รวบรวมกำลังกับชนชาติไทยซึ่งอยู่ที่ดินแดนสุวรรณภูมิก่อนหน้านั้นแล้ว  ปัจจุบันเรียกว่า ประเทศไทย
                ผู้นำที่เข้มแข็ง ๒ ท่านคือ พ่อขุนผาเมือง เป็นเจ้าเมืองราด  พ่อขุนบางกลางท่าว เป็นเจ้าเมืองบางยาง ได้นำทัพเข้าตีกรุงสุโขทัยได้จากขอมใน พ.ศ. ๑๘๐๐ ราษฎรทั้งหลายจึงยกขุนบางกลางท่าวขึ้นเป็นกษัตริย์ ทรงพระนามว่า ขุนศรีอินทราทิตย์ในเวลานั้นพระพุทธศาสนาได้รับการสนับสนุนจากพระราชาทั้งราชวงศ์สุโขทัยจนสืบทอดกันมา               
                ในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราชซึ่งเป็นกษัตริย์องค์ที่ ๓ แห่งกรุงสุโขทัย มิได้ทรงจารึกนิกายใดในศิลาจารึกเพียงแต่จารึกว่า
                มีพระภิกษุคามวาสี คือพระภิกษุที่พำนักอยู่ภายในหมู่บ้านอบรมสั่งสอนชาวบ้าน และทำพิธีกรรมทางศาสนา และพระภิกษุอรัญวาสี คือ พระภิกษุที่อยู่ตามป่า เป็นวัดที่ห่างไกลจากหมู่บ้านทั้งสองแนวนี้ได้สืบทอดศาสนาในยุคนั้น

                                ๒.พระพุทธศาสนามหายานมีการพัฒนามาแต่ละยุคอย่างไร?
ยุคสมัยกรุงศรีอยุธยา
                ชาวจีนได้อพยพเข้ามาสู่ประเทศไทยมากขึ้นเป็นลำดับมา พระพุทธศาสนามหายานได้ฟื้นฟูในประเทศไทยตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา               
ยุคสมัยกรุงธนบุรี (สมัยพระเจ้าตากสินมหาราช)
                วัดวาอารามทางพระพุทธศาสนามหายานได้ถูกสร้างขึ้นโดยการนำของพระสงฆ์ยวนและจีน         
ยุคสมัยกรุงรัตนโกสินทร์  (ตั้งแต่ราชกาลที่ ๑-๔)
                วัดทางมหายานได้ถูกสร้างขึ้นเรื่อยๆ มากกว่า๑๐  วัดขึ้นไป
                                                                ดังนิราศราชการที่ ๑ ว่า                              
                                                ตั้งใจจะอุปถัมภก                  ยอยกพระพุทธศาสนา
                                                จะป้องกันขอบขันฑสีมา   รักษาประชาชนและมนตรี
                 ในสมัยราชกาลที่ ๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระพุทธศาสนาในประเทศไทยได้มีนิกายที่ชัดเจน ๒ นิกายคือ  มหานิกาย และ ธรรมยุต เกิดขึ้นในยุคนั้น     
ยุคสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  ( ราชกาลที่ ๕)
                ได้มีพระพุทธศาสนามหายานประเทศอื่น เข้ามาสู่ประเทศไทย ได้แก่พระพุทธศาสนาแบบจีน เรียกว่า จีนนิกาย และจากเวียดนามเรียกว่า อันนัม จึงเรียกพระภิกษุที่มาเผยแผ่พระพุทธศาสนามหายานแนวนี้ว่า อนัมนิกาย
                                ทำให้เกิดสมณะศักดิ์ของมหายานเกิดขึ้นในยุคนี้
                สมณพระสงฆ์จีนรูปแรกคือ พระอาจารจีนวังวังสสมาธิวัตร  สมณศักดิ์พระสงฆ์ยวนรูปแรกคือ พระครูคณานัมสมณจารย์  และเพิ่มไปตามลำดับ
ยุคสมัยของพระบาทสมเด็จเจ้าอยู่หัว ( ราชกาลที่ ๙) 
                วัดจีนที่สำคัญหลาย ๆ วัด ได้ถูกสร้างและซ่อมแซมขึ้น เช่น  วัดโพธิ์เย็น ที่ตลาดลูกแก           ต.ดอนขมิ้น อ.ท่ามะกา จ.กาญจนบุรี  เป็นวัดแรกที่ได้ทำการผูกพัทสีมาในการอุปสมบทแบบของ พระพุทธศาสนามหายานในประเทศไทยจึงได้รับการพัฒนาสืบๆกันมา


                                ๓.ทำไมพระพุทธศาสนาของมหายานจึงสามารถเผยแผ่ได้กว้างไกล
แนวการศึกษาฝ่ายมหายานของพุทธทาสภิกขุ
แนวการศึกษาพระพุทธศาสนามหายานในประเทศไทย   (เพ็ญศรี หงส์พานิช)

การศึกษาฝ่ายมหายานของพุทธทาสภิกขุ
                มหายานเขาต้องการจะให้ง่ายขึ้นสำหรับคนที่ไม่การศึกษาชาวบ้านนอกคอกนา เช่น การพิจารณาพระพุทธเจ้าอย่างลึกซึ้งชาวบ้านเขาทำไม่ได้ เหลือออกชื่อท่านก็แล้วกัน  ใครสวดได้  ๘๐,๐๐๐ ครั้ง ก็เป็นอันรอดตัวไปสวรรค์แน่
                “มหายานเขาจะรักษาชนกลุ่มที่ด้อยการศึกษา ปัญญาน้อย เอาไว้ในวงพุทธศาสนา เพื่อไม่ให้มีการแตกคอกออกไปสู่ศาสนาอื่นที่ง่ายกว่า จึงได้บัญญัติพระพุทธเจ้าเสียมากมาย และยังบัญญัติพระโพธิสัตว์ขึ้นมาช่วยพุทธเจ้าด้วย
                “มหายานจะขยายออกไป ๒ ทาง ทางหนึ่งขยายออกไปทางให้ประชาชาชนที่ไร้การศึกษา  อีกทางขยายออกไปในทางสูงมีการศึกษาดี แต่แล้วก็ไม่พ้นจาการที่จะใช้ความเชื่อ และศัทธาเป็นใหญ่

พระพุทธศาสนามหายานในประเทศไทย (เพ็ญศรี หงส์พานิช)
                พระพุทธศาสนานิกายมหายาน ยึดหลัก ๗ ประการ
                ๑.ทันสมัย คือ มองเห็นความแปลกใหม่เป็นเรื่องดี
                ๒.รับสิ่งที่เกิดขึ้นใหม่ ไม่รู้สึกหนักใจที่จะเปลี่ยน
                ๓.เปลี่ยนแปลงของเก่าเพื่อให้ใช้ได้หรือเป็นอยู่ได้ในปัจจุบัน
                ๔.มองเห็นความคิดใหม่เป็นเรื่องของการสร้างสรรค์
                ๕.มองเห็นความไม่เปลี่ยนแปลงเป็นเรื่องล้าสมัย
                ๖.ไม่ยึดติดจารีตประเภณี เพราะจารีตประเภณีนั้นก็เกิดจากการเปลี่ยนแปลงมานั่นเอง
                ๗.ป้องกันห่วงแหนสิ่งที่ตนเปลี่ยนแปลงอย่างเหนียวแน่น สิ่งใหม่ๆนั้นควรปกป้องรักษา

แบบสอบถามจากมหาจุฬาฯ

                                    
ข้อมูลของ พระ ไพโรจน์ สมหมาย รหัสนักศึกษา : 4903201066
ตอนที่ ๑ข้อมูลทั่วไป

๑.
ชื่อ
พระ ไพโรจน์ สมหมาย

๒.
เลขประจำตัวประชาชน
3800900039806
เลขประจำตัวนิสิต 
4903201066



สัญชาติ
ไทย
สถานะภาพ 
บรรพชิต


๓.
คณะที่ท่านศึกษาในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

คณะ
พุทธศาสตร์
สาขาวิชา
พระพุทธศาสนา

๔.
สถานที่ที่ท่านศึกษาในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

วิทยาเขตนครศรีธรรมราช

๕.
ภูมิลำเนาของท่าน จังหวัด
นครศรีธรรมราช 

๖.
ที่อยู่ปัจจุบัน วัด
น้ำตก
เลขที่
-
หมู่ที่
5

หมู่บ้าน
น้ำตก
ตรอก / ซอย
-
ถนน
บ่อล้อ-ลำทับ

ตำบล / แขวง
น้ำตก
อำเภอ / เขต
ทุ่งสง
จังหวัด
นครศรีธรรมราช

รหัสไปรษณีย์
80110
โทรศัพท์
0878863183
โทรศัพท์มือถือ
0878863183 

อีเมล์
pr2538@hotmail.com


๗.
ก่อนเข้ามาศึกษาที่ มจร ท่านเคยประกอบอาชีพ
ไม่ได้ประกอบอาชีพอะไร 

๘.
สถานภาพการทำงานปัจจุบัน
ศึกษาต่อ

๙.
หลังสำเร็จการศึกษา ท่านได้รับรางวัลหรือการประกาศเกียรติคุณยกย่องในด้านวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม
จริยธรรมในระดับท้องถิ่นระดับภูมิภาค ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติหรือไม่


ไม่เคยได้รับ


ตอนที่ ๒ การสมัครงานและการทำงาน (สำหรับผู้มีงานทำแล้ว)

๑๐.
ประเภทงานที่ทำ
-  


๑๑.
ชื่อตำแหน่งงานที่ทำ (ระบุ)
-  

๑๒.
สถานที่ทำงานปัจจุบัน ชื่อหน่วยงาน
-


ที่ตั้ง เลขที่
-
หมู่ที่
-
อาคาร
-

ชั้น
-
ตรอก / ซอย
-
ถนน
-

ตำบล / แขวง
-
อำเภอ / เขต
-
จังหวัด
-

รหัสไปรษณีย์
-
โทรศัพท์
-
โทรสาร
-

โทรศัพท์มือถือ
-
อีเมล์
-

๑๓.
ท่านคิดว่า ความรู้ความสามารถพิเศษด้านใดที่ช่วยให้ท่านได้ทำงาน

  -  

๑๔.
ปัจจุบันท่านมีรายได้ประจำจากการทำงาน
-  

๑๕.
ท่านมีความพอใจในงานที่ทำหรือไม่
-  

๑๖.
หลังจากสำเร็จการศึกษาแล้ว ท่านได้งานในระยะเวลาเท่าไร
-

๑๗.
ลักษณะงานที่ทำตรงกับสาขาที่ท่านได้สำเร็จการศึกษาหรือไม่
-

๑๘.
ท่านสามารถนำความรู้จากสาขาวิชาที่เรียนมาประยุกต์ใช้กับหน้าที่การงานที่ทำอยู่ขณะนี้เพียงใด
-  

๑๙.
การศึกษาต่อ
-


ตอนที่ ๓ การสมัครงานและการทำงาน (สำหรับผู้ที่ยังไม่ได้ทำงาน)

๒๐.
สาเหตุที่ยังไม่ได้ทำงาน
-


๒๑.
ท่านที่มีปัญหาในการหางานทำหลังสำเร็จการศึกษาหรือไม่
-
-  

ตอนที่ ๔ การศึกษาต่อ

๒๒.
ระดับการศึกษาที่ท่าน
กำลังศึกษา
ปริญญาโท 

๒๓.
สาขาวิชาที่ท่าน
กำลังศึกษา




สาขาวิชา
พระพุทธศาสนา
มหาวิทยาลัย / สถาบัน
มจร. นศ.
ประเทศ
ไทย

๒๔.
ประเภทของสถาบันที่ท่าน
กำลังศึกษา
รัฐบาล


๒๕.
เหตุผลที่ทำให้ท่านตัดสินใจศึกษาต่อ

ความต้องการของบิดามารดา
งานที่ต้องการต้องใช้วุฒิสูงกว่า ปริญญาตรี
ได้รับทุนศึกษาต่อ

อื่นๆ ระบุ



๒๖.
ท่านมีปัญหาในการศึกษาต่อหรือไม่
ไม่มีปัญหา



ตอนที่ ๕ ข้อเสนอแนะ

๒๗.
ท่านคิดว่าในหลักสูตรของมหาวิทยาลัย ควรเพิ่มรายวิชาหรือความรู้เรื่องใดที่จะเอื้อประโยชน์ต่อการประกอบอาชีพของท่านได้มากยิ่งขึ้น

ภาษาอังกฤษ
คอมพิวเตอร์
การเงินและบัญชี
การใช้งานอินเตอร์เน็ต
การฝึกปฏิบัติภาคสนาม
เทคนิคการวิจัย
ธุรการ
พัสดุ
กฎหมาย
เศรษฐกิจพอเพียง
อื่นๆ

๒๘.
ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับหลักสูตรและสาขาวิชาที่เรียน



-

๒๙.
ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน



-

๓๐.
ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับกิจกรรมพัฒนานิสิต



-

(......................................................................)..
พระ ไพโรจน์ สมหมาย
27/03/2554
http://job.mcu.ac.th/images/print.jpg